แนวทางและมาตรการรณรงค์เพื่อสืบสานคุณค่าทางวัฒนธรรมเนื่องในประเพณีสงกรานต์ พุทธศักราช ๒๕๖๖ “สืบสานสงกรานต์วิถีไทย ร่วมสานใจ สู่สากล”

แนวทางและมาตรการรณรงค์เพื่อสืบสานคุณค่าทางวัฒนธรรมเนื่องในประเพณีสงกรานต์ พุทธศักราช ๒๕๖๖ “สืบสานสงกรานต์วิถีไทย ร่วมสานใจ สู่สากล”

ความสำคัญของการจัดทำแนวทางและมาตรการรณรงค์เพื่อสืบสานคุณค่าทางวัฒนธรรมเนื่องใน ประเพณีสงกรานต์ พุทธศักราช ๒๕๖๖ “สืบสานสงกรานต์วิถีไทย ร่วมสานใจสู่สากล”

คณะรัฐมนตรีมีมติเมือวันที ๒๔ มีนาคม ๒๔๖๓ เห็นชอบให้เสนอประเพณีสงกรานต์ ในประเทศไทย เป็นรายการตัวแทนมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม1ได้ของมนุษยชาติต่อยูเนสโก เนื่องจาก ประเพณีสงกรานต์มีการเฉลิมฉลองทั่วทุกพื้นที่ชองประเทศไทยตามภูมิหลังทางชาติพันธุ วัฒนธรรมและ ฃนบธรรมเนียมที่แตกต่างกัน อันบ่งซี้ถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรมที่มีจุดร่วมกันเพียงหนึ่งเดียว ทั้งยัง สะท้อนถึงความสามารถในการสร้างสรรค์ชองมนุษย์ ตลอดจนการขึ้นทะเบียนสงกรานต์ในประเทศไทยจะ กระตุ้นให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวัฒนธรรม ทั้งในประเทศที่มีความเชื่อที่คล้ายคลึงกันและแตกต่างกัน ตลอดจนเปีดโอกาสให้ทุกกลุ่มคนได้เช้าร่วมประเพณีอย่างทั่วถึงเท่าเทียมกันโดยขณะนี้กระบวนการดังกล่าว อยู่ระหว่างการพิจารณาชองยูเนสโก

๑. แนวคิด “สืบสานสงกรานต์วิถีไทย ร่วมสานใจ สู่สากล” สื่อความหมายได้ ดังนี้

๑) สืบสานสงกรานต์วิถีไทย หมายถึง การอนุรักษ์ สืบสานและส่งเสริมประเพณีสงกรานต์

ที่ทรงคุณค่า สาระอันดีงาม และการปฏิบัติตามแบบชองประเพณีวัฒนธรรมที่เหมาะสมชองแต่ละ ท้องถิ่นตามภูมิหลังชองวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน โดยยังคงแก่นแท้ชองประเพณีที่มีร่วมกัน ซึ่งสะท้อนถึง การแสดงออกที่งดงาม อ่อนโยน เอื้ออาทร มีนี้าใจไมตรีให้แก1กันและกัน และบรรยากาศแห่งการแสดง ความกตัญณูที่สามารถแสดงออกได้ ต่อครอบครัว บรรพบุรุษ บิดามารดา ผู้มีพระคุณ ตลอดจนศาสนาและ ความเชื่อที่นับถือ นอกจากนี้ยังรวมถึงค่านิยมในการเคารพมาตรการรักษาความบิลอดภัยในช่วงประเพณี สงกรานต์ และการปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด รวมถึงการเคารพในสิทธิมบุษยซน

๒) ร่วมสานใจ สู่สากล หมายถึง การส่งเสริมการเผยแพร่คุณค่าสาระที่ดีงามชองประเพณี

สงกรานต์ในฐานะที่เป็นมรดกภูมิบีญญาทางวัฒนธรรมชองไทย และการปฏิบัติตามแบบชองประเพณีวัฒนธรรมที่ เหมาะสมชองแต่ละท้องถิ่นตามภูมิหลังชองวัฒนธรรมที่แตกต่างกันสู่สายตาซาวต่างชาติ อีกทั้งมีการส่งเสริมการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวัฒนธรรมเกี่ยวกับประเพณีสงกรานต์ในต่างประเทศ ตลอดจนมีการสร้างความตระหนักรู้ และหวงแหนต่อประเพณีสงกรานต์ชองประซาซนซาวไทยในฐานะที่ประเพณีสงกรานต์เป็นประเพณีที่แสดงถึง รัตลักษณ์ชองความเป็นไทยในทุกภูมิภาค และเป็นหนึ่งในแนวคิด Soft Power ด้านอนุรักษ์และขับเคลื่อน เทศกาล ประเพณีสู1ระดับโลกชองรัฐบาล โดยอาศัยการบูรณาการจากทุกภาคส่วน ประกอบด้วย ภาครัฐ ภาคเอกซน และภาคประซาซน

๒. แนวทางและมาตรการรณรงค์ เพื่อดำเนินการประเพณีสงกรานต์ พุทธศักราช ๒๕๖๖ ๑) การรณรงค์เรื่อง “สืบสานสงกรานต์วิถีไทย” ประกอบด้วย

๑.๑ ขอความร่วมมือหน่วยงานที่เกี่ยวช้อง พิจารณาจัดกิจกรรมในประเพณีสงกรานต์ โดยเน้นเรื่องคุณค่าและสาระชองวัฒนธรรม ประเพณี การท่องเที่ยวและสุขภาพ โดยคำนึงถึงความเหมาะสม ชองแต่ละท้องถิ่นที่มีภูมิหลังชองวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน

๑.๒.ส่งเสริมให้จังหวัดต่างๆ ใช้พื้นที่จัดกิจกรรมทางศาสนาและวัฒนธรรมในประเพณี สงกรานต์ ร่วมกันสืบสานประเพณีที่ดีงาม เหมาะสม

๑.๓ รณรงค์ให้ประซาซนสืบสานคุณค่าสาระและสิ่งที่ควรทำของประเพณีสงกรานต์ เซ่น การทำความสะอาดบ้านเรือน จัด ศาสนสถานที่นับถือ สถานที่สาธารณะ ทำบุญตักบาตร ปฏิบัติธรรม พิงเทศน์ สรงนํ้าพระพุทธรูป ซอพรผู้สูงอายุ

๑.๔ รณรงค์ให้แต่งกายด้วยชุดสุภาพ ใช้ผ้าไทย ผ้าท้องถิ่น หรือชุดไทยย้อนยุค เช้าร่วมในกิจกรรมต่างๆ

๑.๕ ซอความร่วมมือหน่วยงานต่าง ๆ สนับสนุนศิลปินพื้นบ้านในการจัดกิจกรรม การละเส1น และการแสดงทางวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น ตามแนวทางมาตรการเทศกาลสงกรานต์ ๒๕๖๖ เพื่อเป็นการถ่ายทอดมรดกภูมิปิญญาทางวัฒนธรรม และให้เด็ก เยาวชน ประซาซนทั่วไปได้ร่วมกันสืบสาน ประเพณี โดยคำนึงถึงวัฒนธรรมที่ถูกต้องเหมาะสม และร่วมกันเฝ็าระวังทางวัฒนธรรม

๑.๖ รณรงค์ให้ประซาซนเข้าร่วมกิจกรรมประเพณีสงกรานต์โดยคำนึงถึงหลัก สิทธิมนุษยซน เซ่น การไม่คุกคามทางเพศ การเคารพและ’ให้เกียรติผู้ที่ไม1ประสงค์’จะเล่นสาดนาสงกรานต์ การไม่สร้างความเดือดร้อนต่อผู้อื่น การไม่สร้างความวุ่นวายหรือความเดือดร้อนในที่สาธารณะ เป็นต้น

๑.๗ ซอความร่วมมือประซาซนที่ฃับฃี่ยานพาหนะและไข้ถนนหนทางให้ปฏิบัติตาม กฎหมาย กฎจราจรอย่างเคร่งครัด รวมถึงช่วยสอดส่อง หรือแจ้งเจ้าหน้าที่ในกรณีพบเห็นผู้ที่ปฏิบัติตน ไม่เหมาะสม

๑.๘ การดำเนินการจัดงานตามคำแนะนำในการบ้องกันและควบคุมการแพร่ระบาด โรคติดเชื้อซองกระทรวงสาธารณสุข เพื่อบ้องกันการแพร่ระบาดซองโรคอุบัติใหม่และอุบัติซํ้าโรค รวมถึง โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVI□-๑๙) ขณะเดียวกันก็คำนึงถึงมาตรการรักษาความปลอดภัยในช่วง ประเพณีสงกรานต์ และการบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด รวมถึงการรักษาความปลอดภัยในด้านอื่น ๆ ซองหน่วยงานที่เกี่ยวช้อง

๒) การรณรงค์เรื่อง “ร่วมสานใจ สู่สากล” ประกอบด้วย

๒.๑ ส่งเสริมภาครัฐ เอกซน และภาคประซาซน ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวัฒนธรรม เกี่ยวกับประเพณีสงกรานต์ทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ และระหว่างประเทศ

๒.๒ ส่งเสริมภาครัฐ เอกซน และภาคประซาซน ในการเผยแพร่คุณค่าสาระซองประเพณี สงกรานต์ที่แท้จริงซองต่อซาวต่างชาติ

๒.๓ ส่งเสริมภาครัฐ เอกซน และภาคประซาซน ในการสร้างความตระหนักรู้ต่อประซาซน เกี่ยวกับประเพณีสงกรานต์ในประเทศไทย รวมถึงการสร้างความภาคภูมิใจและหวงแหนในประเพณีสงกรานต์ ต่อประซาซนซาวไทยในฐานะที่เป็นประเพณีที่ซาวต่างชาติให้ความสนใจ และม่โอกาลได้รับการพิจารณาจาก ยูเนสโกให้ชื้นทะเบียนเป็นรายการตัวแทนมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ซองมนุษยชาติ

๒.๔ รณรงค์ให้ประซาซนสร้างรัตลักษณ์ความเป็นไทยในการเช้าร่วมกิจกรรมประเพณี สงกรานต์ เซ่น แต่งกายด้วยชุดสุภาพผ้าไทย ผ้าท้องถิ่น หรือชุดไทยย้อนยุค เพื่อสร้างภาพลักษณ์ และเพื่อสร้างการรับรู้รัตลักษณ์ความเป็นไทยในประเพณีสงกรานต์ต่อซาวต่างชาติ


Share: